หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562

ประเภทวิชาเกษตรกรรม

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์

จุดหมาย

 

 

1.  เพื่อให้มีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ นำไปปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกวิถีการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมกับตน สร้างสรรค์ความเจริญต่อชุมชน ท้องถิ่นและประเทศชาติ

2.  เพื่อให้เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพ สามารถสร้างอาชีพ มีทักษะในการจัดการและพัฒนาอาชีพให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ

3.  เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เรียน รักงาน รักหน่วยงาน สามารถทำงานเป็นหมู่คณะได้ดี โดยมีความเคารพในสิทธิและหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น

4.  เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม  ทั้งในการทำงาน  การอยู่ร่วมกัน  มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว  หน่วยงาน ท้องถิ่นและประเทศชาติ   อุทิศตนเพื่อสังคม  เข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลป-วัฒนธรรม  ภูมิปัญญาท้องถิ่น   รู้จักใช้และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี

5.  เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ เหมาะสมกับงานอาชีพนั้น ๆ

6.  เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศและโลกปัจจุบัน มีความรักชาติ สำนึกในความเป็นไทย เสียสละเพื่อส่วนรวม ดำรงรักษาไว้ซึ่งความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

 


จุดประสงค์

 

1.   เพื่อให้มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับภาษา สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา นำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพให้มีความเจริญก้าวหน้า

2.   เพื่อให้มีความรู้และทักษะในหลักการและกระบวนการงานพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับอาชีพเกษตรกรรม

3.   เพื่อให้มีความรู้และทักษะในงานที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและส่งเสริมงานอาชีพเกษตรกรรมให้ทันต่อความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคม

4.   เพื่อให้มีความรู้และทักษะในงานผลิตและบริการทางพืชศาสตร์  สัตวศาสตร์  อุตสาหกรรมเกษตร และ/หรือช่างเกษตรตามหลักการและกระบวนการในลักษณะครบวงจรเชิงธุรกิจ โดยคำนึงถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

6.   เพื่อให้สามารถเลือก/ใช้/ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในงานอาชีพเกษตรกรรม

7.   เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานด้านการเกษตรในสถานประกอบการและประกอบอาชีพอิสระ ใช้ความรู้และทักษะพื้นฐานในการศึกษาต่อระดับสูงขึ้นได้

8.   เพื่อให้มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีต่องานอาชีพเกษตรกรรม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด  อดทน  มีวินัย  สามารถพัฒนาตนเองและทำงานร่วมกับผู้อื่น

 


มาตรฐานวิชาชีพสาขาสัตวศาสตร์

 

1.   สื่อสารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวันและในงานอาชีพ

2.   ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา วัฒนธรรม และสิทธิหน้าที่พลเมือง

3.   แก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

4.   พัฒนาบุคลิกภาพและสุขลักษณะโดยใช้หลักการและกระบวนการด้านสุขศึกษาและพลศึกษา

5.   ปฏิบัติงานพื้นฐานอาชีพเกษตรกรรมตามหลักการและกระบวนการ

6.   เลือก ใช้ และบำรุงรักษายานพาหนะ  เครื่องมืออุปกรณ์  และเครื่องทุ่นแรงในงานอาชีพเกษตรกรรมตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัย

7.   ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ กระบวนการจัดการธุรกิจ และหลักการบริหารงานคุณภาพเพื่อพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนงานอาชีพเกษตรกรรม

8.   วางแผน   เตรียมการ  เลี้ยงดู  และจัดการผลผลิตสัตว์ปีก/สุกร/โค/สัตว์น้ำ  และ/หรือสัตว์เลี้ยงชนิดอื่น ๆ   ตามหลักการและกระบวนการ ในลักษณะครบวงจรเพื่อจำหน่ายเชิงธุรกิจ

9.   อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศในงานสัตวศาสตร์

10. เลือก ใช้ และ/หรือประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการดำเนินงานสัตวศาสตร์ตามหลักการและกระบวนการ

 

 


วิชา การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก(Incubation and Hatchery Management)

รหัสวิชา  20501-2323 จำนวนหน่วยกิจและคาบสอน                      3 (6)

                                               

จุดประสงค์รายวิชา

 

1.  เพื่อให้เข้าใจหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับการฟักไข่และการจัดการโรงฟัก

2.  เพื่อให้สามารถเตรียมตู้ฟักและอุปกรณ์ เตรียมไข่ฟัก จัดการดูแลตู้ฟัก และแก้ปัญหาในการฟักไข่อย่างมีระบบตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงการอนุรักษ์พลังงานและผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม

3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพการฟักไข่และการจัดการโรงฟัก      และมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ  รอบคอบ  ขยัน  และอดทน

 

มาตรฐานรายวิชา

 

1.  เข้าใจหลักการและกระบวนการวางแผน ฟักไข่และการจัดการโรงฟักเบื้องต้น

2.  เตรียมโรงฟัก เครื่องมืออุปกรณ์ และไข่สำหรับฟักตามหลักการและกระบวนการ

3.  ฟักไข่ตามหลักการและกระบวนการ

4.  จัดการลูกไก่หลังการเพาะฟักตามหลักการ

5.  จัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายการเพาะฟักลูกไก่และจำหน่าย

 

คำอธิบายรายวิชา

 

               ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ  การวิเคราะห์ความสำคัญ การตลาดและการวางแผนการฟักไข่  วิธีการฟักไข่ ปัจจัยที่สำคัญในการฟักไข่ การพัฒนาของตัวอ่อน เครื่องมือและอุปกรณ์ในการฟัก โรงฟักและการจัดการโรงฟัก  การจัดการฟักไข่  การจัดการผลผลิตและการจำหน่าย  ปัญหาและอุปสรรคในการฟักไข่   การจดบันทึกงานฟาร์มและทำบัญชี


หน่วยการสอน

วิชาการฟักไข่และการจัดการโรงฟัก..

รหัสวิชา…20501-2323..คาบ/สัปดาห์…..6…คาบรวม……108คาบ.

อาจารย์ผู้สอน  นายสมบุญ   กาละพงศ์

หน่วยที่

ชื่อหน่วย

จำนวนคาบ

สอนครั้งที่

1.

ความสำคัญของการฟักไข่

4

1

2.

การวางแผนการฟักไข่

4

2-3

3.

วิธีการฟักไข่

10

3-6

4.

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการฟัก

9

6-8

5.

การพัฒนาของตัวอ่อน

9

8-10

6.

เครื่องมือและอุปกรณ์ในการฟักไข่

- การควบคุมตู้ฟักไข่แบบไฟฟ้า

12

11-14

7.

โรงฟักและการจัดการโรงฟัก

6

15-16

8.

การจัดการฟักไข่

- การทำความสะอาดโรงฟักและอุปกรณ์

- การรมควันฆ่าเชื้อโรค

- การคัดเลือกไข่ฟัก

- การฟักไข่และการจัดการ

- การส่องไข่

- การย้ายลูกไก่จากตู้เกิด

- การทำความสะอาดตู้เกิดและอุปกรณ์

30

17-26

9

การจัดการผลผลิตและการจำหน่าย

9

27-29

10.

การบันทึกและการทำบัญชีฟาร์ม

- สรุปผลการฟักและการทำบัญชีฟาร์ม

6

30-31

11.

ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข

6

32-33

12.

สอบปลายภาค

3

34

 

รวม

108

 

ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้

รหัสวิชา 20501-2323    ชื่อวิชา การฟักไข่และการจัดการโรงฟัก จำนวน 3 หน่วยกิจ 6 ชั่วโมง / สัปดาห์

 

หน่วยที่

ชื่อหน่วย/หัวข้อย่อย

ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์

เวลา

(ชม.)

 

พุทธิพิสัย

ทักษะพิสัย

จิตพิสัย

1

2

3

4

5

6

1.

ความสำคัญของการฟักไข่

 

 

 

 

 

 

 

 

4

1.1   วิวัฒนาการของการฟักไข่

/

 

 

 

 

 

 

/

 

1.2 พัฒนาการของการฟักไข่ในประเทศไทย

/

 

 

 

 

 

 

/

 

1.3 ความสำคัญของการฟักไข่

 

 

 

 

 

 

 

 

 

- ความสำคัญต่อเกษตรกร

 

/

 

 

 

 

 

/

 

- ความสำคัญต่อประเทศชาติ

 

/

 

 

 

 

 

/

 

2.

การวางแผนการฟักไข่

 

 

 

 

 

 

 

 

4

-          ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการวางแผน

 

 

/

 

 

 

/

/

 

-          การคิดต้นทุนการผลิต

 

 

/

 

 

 

/

/

 

3.

วิธีการฟักไข่

 

 

 

 

 

 

 

 

10

3.1 วิธีการฟักไข่แบบธรรมชาติ

 

/

 

 

 

 

 

/

 

3.2 วิธีการฟักไข่แบบวิทยาศาสตร์

 

/

 

 

 

 

 

/

 

- การฟักแบบชาวจีน

 

/

 

 

 

 

 

/

 

- การฟักโดยใช้ตู้ฟัก

 

 

/

 

 

 

 

/

 

4.

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการฟัก

 

 

 

 

 

 

 

 

9

4.1 ความสมบูรณ์พันธ์

 

/

 

 

 

 

 

/

 

4.2 ความร้อน

 

/

 

 

 

 

 

/

 

4.3 ความชื้น

 

/

 

 

 

 

 

/

 

4.4 การระบายอากาศ

 

/

 

 

 

 

 

/

 

4.5 การกลับไข่

 

/

 

 

 

 

 

/

 

4.6 การสุขาภิบาล

 

/

 

 

 

 

 

/

 

4.7 ปัจจัยอื่นๆ

 

/

 

 

 

 

 

/

 

หน่วยที่

ชื่อหน่วย/หัวข้อย่อย

ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์

เวลา

(ชม.)

 

พุทธิพิสัย

ทักษะพิสัย

จิตพิสัย

1

2

3

4

5

6

5.

การพัฒนาของตัวอ่อน

 

 

 

 

 

 

 

 

9

5.1 กระบวนการพัฒนาการของตัวอ่อน

 

/

 

 

 

 

 

/

 

5.2 การเจริญเติบโตของตัวอ่อนในขณะไข่อยู่ในตัวแม่ไก่

 

/

 

 

 

 

 

/

 

5.3 การเจริญเติบโตของตัวอ่อนในระหว่างการฟัก

 

/

 

 

 

 

 

/

 

5.3 เนื้อเยื่อที่มีความจำเป็นต่อการพัฒนาการของตัวอ่อน

 

/

 

 

 

 

 

/

 

5.4 สภาพตัวอ่อนที่อยู่ภายในไข่

 

/

 

 

 

 

 

/

 

6.

เครื่องมือและอุปกรณ์ในการฟักไข่

 

 

 

 

 

 

 

 

12

6.1 อุปกรณ์การฟักไข่สมัยโบราณ

 

/

 

 

 

 

 

/

 

6.2 อุปกรณ์การฟักไข่ในปัจจุบัน

 

/

 

 

 

 

 

/

 

- ตู้ฟักไข่แบบน้ำร้อน

 

/

 

 

 

 

 

/

 

- ตู้ฟักไข่แบบอากาศร้อน

 

/

 

 

 

 

 

/

 

- ตู้ฟักไข่แบบไฟฟ้า

 

 

/

 

 

 

/

/

 

6.3 การควบคุมตู้ฟักไข่แบบไฟฟ้า

 

 

 

 

 

 

/

/

 

6.4 อุปกรณ์อื่นในการฟักไข่

 

/

 

 

 

 

 

/

 

7.

โรงฟักและการจัดการโรงฟัก

 

 

 

 

 

 

 

 

6

7.1 สถานที่ตั้งโรงฟัก

 

/

 

 

 

 

 

/

 

7.2 ระบบการจัดการภายในโรงฟัก

 

/

 

 

 

 

 

/

 

7.3 โปรแกรมการทำงานภายในโรงฟัก

 

/

 

 

 

 

 

/

 

8.

การจัดการฟักไข่

 

 

 

 

 

 

 

 

30

8.1 การจัดการก่อนการฟัก

 

/

 

 

 

 

 

 

 

 

- การทำความสะอาดโรงฟักและอุปกรณ์

 

 

/

 

 

 

/

/

 

 

- การรมควันฆ่าเชื้อโรค

 

 

/

 

 

 

/

/

 

 

- การคัดเลือกไข่ฟัก

 

 

/

 

 

 

/

/

 

หน่วยที่

ชื่อหน่วย/หัวข้อย่อย

ระดับพฤติกรรมที่พึงประสงค์

เวลา

(ชม.)

 

พุทธิพิสัย

ทักษะ

พิสัย

จิต

พิสัย

1

2

3

4

5

6

 

8.2 การจัดการระหว่างการฟักไข่

 

 

/

 

 

 

 

 

 

- การฟักไข่และการจัดการ

 

 

/

 

 

 

/

/

 

- การส่องไข่

 

 

/

 

 

 

/

/

 

- การย้ายลูกไก่จากตู้เกิด

 

 

/

 

 

 

/

/

 

- การทำความสะอาดตู้เกิดและอุปกรณ์

 

 

/

 

 

 

/

/

 

9

การจัดการผลผลิตและการจำหน่าย

 

 

 

 

 

 

 

 

9

9.1 การคัดลูกไก่

 

 

/

 

 

 

/

/

 

9.2 การคัดเพศ

 

 

/

 

 

 

/

/

 

9.3 การจัดการอื่น ๆ

 

 

/

 

 

 

/

/

 

9.4 การขนส่ง

 

/

 

 

 

 

 

/

 

10.

การบันทึกและการทำบัญชีฟาร์ม

 

 

 

 

 

 

 

 

6

10.1 การทำบันทึกงานฟักไข่

 

 

/

 

 

 

 

/

 

10.2 สรุปผลการฟักและการทำบัญชีฟาร์ม

 

 

/

 

 

 

 

/

 

11.

ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข

 

 

 

 

 

 

 

 

6

11.1 ปัญหาจากสิ่งแวดล้อม

 

/

/

 

 

 

/

/

 

11.2 ปัญหาจากการจัดการ

 

/

 

 

 

 

/

/

 

11.3 ปัญหาจากตู้ฟัก

 

/

 

 

 

 

/

/

 

11.4 ปัญหาจากไข่ฟัก

 

/

 

 

 

 

/

/

 

 

หมายเหตุ

ระดับพุทธิพิสัย    1.= ความจำ                    2 = ความเข้าใจ                       3 = การนำไปใช้

                        4 = วิเคราะห์                    5 = สังเคราะห์                        6 = ประเมินค่า

 


ข้อตกลงเบื้องต้นในการจัดการเรียนการสอน

 

 


1. เนื่องจากทางวิทยาลัยมีพ่อแม่พันธ์ไก่ที่ให้ไข่ฟักได้ และนำไข่เป็ดเทศมาฟักรวมเป็น 2 ชนิด

2. การฟักจะมอบหมายให้นักศึกษาได้ดูแลตู้ฟักตลอดการฟัก

3.  ไข่เป็ดเทศ ซึ่งไข่ของสัตว์ปีกที่ฟักยากมีเทคนิคการฟักหลายอย่างให้นักศึกษาค้นหาสิ่งที่ต้องการทราบเปรียบเทียบกับการฟักปกติ

4. การสรุปผลการฟักไข่ให้สรุปในรูปของการวิจัยอย่างง่ายๆ แต่ให้ครบเช่นเดียวกับการเขียนรายงานการวิจัย

5. ในระหว่างการเรียนนักศึกษาจะต้องส่งงานเป็นระยะเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและสรุปเมื่อเรียนเสร็จอีกครั้งหนึ่ง